Custom Search

วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

กระแสเงินสดสุทธิ Net Cash Flow

กระแสเงินสดสุทธิ Net Cash Flow = กำไรสุทธิ - รายได้ที่ไม่เป็นเงินสด + ค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้จ่ายเป็นเงินสด (ค่าเสื่อมราคา & ค่าใช้จ่ายตัดจ่าย)
Net Operating Working Capital = Operating Working Capital - (เจ้าหนี้การค้า + ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย) หรือ
= จำนวนเงินทุนที่ต้องจัดหามาจากผู้ลงทุน (ซึ่งมีต้นทุนทางการเงิน)
Operating Working Capital = เงินสด + ลูกหนี้การค้า + สินค้าคงเหลือ
Total Operating Capital = Net Operating Working Capital + Net Fixed Assets
กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (Operating Cash Flow) = กำไรสุทธิจากการดำเนินงานหลังภาษี (Nopat) + ค่าเสื่อมราคา (Depreciation)
กระแสเงินสดอิสระ (Free Cash Flow=FCF) = กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (Operating Cash Flow) - Gross Investment in Operating Cap.
Gross Investment in Operating Capital = Net Investment in Operating Capital + Depreciation
FCF = Nopat - Net Investment in Operating Capital
อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง
Current Ratio = Current Assets / Current Liabilities Quick Ratio = (Current Assets - Inventory) / Current Liabilities
อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์
Inventory Turnover Ratio = Sales / Inventory Days Sales Outstanding (DSO) = Acc. Rec. / Sales per Date
Fixed Assets Turnover Ratio = Sales / Net Fixed Assets Total Assets Turnover Ratio = Sales / Total Assets
อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratio) = Total Lia. / Total Assets
Times Interest Earned (TIE) ใช้วัดความสามารถของธุรกิจในการชำระดอกเบี้ย = EBIT / ดอกเบี้ยจ่าย
อัตราส่วนกระแสเงินสดรวมทั้งสิ้นสามารถชำระค่าใช้จ่ายประจำทางการเงินได้เพียงใด
EBITDA Coverage Ratio = EBITDA + Depreciation & Amortization + Lease Payments / Interest + Loan Repayments + Lease Payments
อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร
อัตรากำไรสุทธิต่อยอดขาย = กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ / ยอดขาย Basic Earning Power (BEP) = EBIT / สินทรัพย์ทั้งสิ้น
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) = กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ / สินทรัพย์ทั้งสิ้น
อัตราผลตอบแทนส่วนของผู้เป็นเจ้าของ (ROE) = กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ / ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนประเมินผลธุรกิจโดยรวม
อัตราส่วนราคาต่อหุ้นกับกำไรสุทธิต่อหุ้น (PE Ratio) = ราคาตลาดต่อหุ้น / กำไรสุทธิต่อหุ้น
อัตราส่วนราคาต่อหุ้นกับกระแสเงินสดต่อหุ้น (Price / Cash Flow Ratio) = ราคาตลาดต่อหุ้น / กระแสเงินสดต่อหุ้น
กระแสเงินสดต่อหุ้น = กำไรสุทธิ + ค่าเสื่อมราคา + รายจ่ายตัดบัญชี / จำนวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก
อัตราส่วนราคาตลาดต่อหุ้นกับมูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (Market / Book = M / B) = ราคาตลาดต่อหุ้น / มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น = ส่วนของผู้ถือหุ้น / จำนวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก
องค์ประกอบของอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด
k = k* + IP + DRP + LP + MRP k = อัตราดอกเบี้ยที่กำหนดขึ้น (Quoted Rate, Nominal Rate)
k* = อัตราผลตอบแทนที่แท้จริงที่ไม่มีความเสี่ยงและไม่รวมอัตราเงินเฟ้อ Real Risk - Free Rate = kRF = k* + IP
IP = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยกับภาวะเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต (Inflation Premium)
DRP = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยกับความเสี่ยงที่เจ้าหนี้อาจจะไม่ได้รับชำระดอกเบี้ยและเงินต้นคืน (Default Risk Premium)
LP = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยกับความยากในการขายหลักทรัพย์ต่อไป (Liquidity Premium) หรือความเสี่ยงเรื่องสภาพคล่อง
MRP = (Maturity Risk Premium) อัตราผลตอบแทนที่ต้องการเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยกับความเสี่ยงที่เกิดจากอายุของหลักทรัพย์ (หลักทรัพย์ที่มีอายุครบ
ยาวนาน ย่อมมีความเสี่ยงสูงกว่าหลักทรัพย์ที่มีอายุสั้น) ความเสี่ยงเนื่องจากระยะเวลานี้ ความเสี่ยงเนื่องจากอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk)
หลักทรัพย์รัฐบาลระยะสั้น = k* + IP หลักทรัพย์รัฐบาลระยะยาว = k* + IP + MRP
หลักทรัพย์เอกชนระยะสั้น = k* + IP + DRP + LP หลักทรัพย์เอกชนระยะยาว = k* + IP + DRP + LP + MRP
บทที่ 5 อัตราผลตอบแทน k^ = เงินที่ได้รับจากการลงทุน - เงินลงทุน / เงินลงทุน
อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ (Expected Rate of Return "k^") k^ = P1k1 + P2k2 + …. + Pnkn
Pi = ความน่าจะเป็นที่จะเกิดเหตุการณ์ I ki = อัตราผลตอบแทนของเหตุการณ์ I n = จำนวนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด
ค่าเบี่ยงเบน (Deviation) = ki - k^ ค่าความแปรปรวน Variance =
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Standard Deiation =
ค่าสัมประสิทธิ์ของความแปรปรวน Coefficient of Variation = CV ใช้เฉพาะกรณีที่อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุนไม่เท่ากัน =
อัตราผลตอบแทนจริง k-
ความสัมพันธ์ของความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน Capital - Assets Pricing Model (CAPM) = ki = kRF + (kM - kRF) bi
ki = อัตราผลตอบแทนที่ต้องการของหุ้นสามัญ I kRF = อัตราผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ยง
kM = อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด bi = ค่าเบต้าของหุ้นสามัญ
RPM อัตราผลตอบแทนของตลาดที่ผู้ลงทุนต้องการเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยกับความเสี่ยง = kM - kRF
RPi อัตราผลตอบแทนที่ต้องการเพิ่มขึ้นของหุ้นสามัญ I = (kM - kRF) bi = (RPM) bi
สมการ SML (Security Market Line) อัตราผลตอบแทนของหุ้นสามัญ I = อัตราผลตอบแทนที่ไม่มีความเสี่ยง + (อัตราผลตอบแทนของตลาดที่ชดเชย
ความเสี่ยง)(ค่าเบต้าของหุ้นสามัญ I)
บทที่ 6 FV = PV (1+I)n ถ้าการถอนเงินออกมาตอนต้นปี ต้องตั้งเครื่องคำนวณไปที่ BEG ก่อน
PV ของ Perpetuity (ไม่กำหนดปีสิ้นสุด) = Payment / Interest Rate
EAR, EFF = n [Shift] [Eff] อัตรา% [EXE] APR = n [Shift] [APR] อัตราEFF [EXE]
บทที่ 7 ผลตอบแทนจากพันธบัตร Yield to Maturity (YTM)
Yield to Call (YTC) = [n] [PV] [PMT] [FV] [Comp] [I%] Current Yield = Interest / Current Price
บทที่ 9 WACC (Weighted Average Cost of Capital) ต้นทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก = wd kd (1-t) + wp kp + wc ks
kd = อัตราดอกเบี้ยที่ต้องจ่าย, ต้นทุนของหนี้สินก่อนเสียภาษี kd (1-t) = ต้นทุนของหนี้สินหลังเสียภาษี
t = อัตราภาษีเงินได้ kp = ต้นทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์ ks = ต้นทุนของหุ้นสามัญ
ต้นทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์ kp = dp / pp (เงินปันผลของหุ้นบริมสิทธิ / ราคาหุ้นบุริมสิทธิ)
ต้นทุนของกำไรสะสม วิธี CAPM ks = kRF + (kM - kRF) bi
วิธีผลตอบแทนจากพันธบัตรบวกส่วนชดเชยความเสี่ยง (Bond Yield Plus Risk Premium Approach) ks = Bond Yield + Risk Premium
วิธีผลตอบแทนจากเงินปันผลบวกอัตราการเจริญเติบโตหรือวิธีส่วนลดกระแสเงินสด (Dividend Yield Plus Growth Rate or Discounted Cash
Flow (DCF) Approach) = ks = d1 / p0 + g ต้นทุนของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ ke = d1 / p0 (1-f) + g
เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับงบลงทุนมี 5 ประการดังนี้
1. Payback Period - คืนทุนสั้นที่สุด 2. Discounted Payback Period - หามูลค่าปัจจุบันในแต่ละปี แล้วคำนวณหาเวลาคืนทุน
3. Net Present Value (NPV) - NPV เป็น + รับโครงการ 4. Internal Rate of Return (IRR) - ไม่ต้องกด I% ตอนคำนวณ
5. Modified Internal Rate of Return (MIRR) - เอากระแสเงินสดที่ได้รับไปลงทุนใหม่ แล้วรวมเป็นยอดเงินในปีสุดท้าย
อัตราส่วนลดที่ทำให้ค่า NPV ของแต่ละโครงการเท่ากันเรียกว่า Cross Over Rate
บทที่ 11 กระแสเงินสดอิสระ = กำไรจากการดำเนินงานหลังภาษี + ค่าเสื่อมราคา - รายจ่ายลงทุน - การเปลี่ยนแปลงของทุนหมุนเวียนจากการ
ดำเนินงาน (สุทธิ)
การหากระแสเงินสดของโครงการ
1. ข้อมูล 2. ตารางค่าเสื่อมราคา - หามูลค่าตามบัญชี 3. มูลค่าซาก - หากระแสเงินสดสุทธิจากมูลค่าซาก
การตัดสินใจเลือกโครงการ NPV เป็น + IRR และ MIRR สูงกว่าต้นทุนของเงิน
เทคนิคการวัดความเสี่ยงเฉพาะปัจจัย
1. Sensitivity Analysis คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อทราบว่า เมื่อปัจจัยหนึ่งเปลี่ยนแปลงโดยปัจจัยอื่นคงที่จะทำให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิเปลี่ยงแปลง
2. Scenario Analysis คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามสภาวะของเหตุการณ์ที่คาดว่าจะมีโอกาสเกิดขึ้นโดยนำการกระจายความน่าจะเป็นของตัว
แปรต่าง ๆ มาพิจารณา
3. Monte Carlo Simulation คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงโดยการสุ่มตัวแปรแล้วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยวิเคราะห์ NPV และบันทึกไว้ ทำซ้ำ ๆ กันเช่นนี้
แล้วจึงหาค่าเสี่ยง SD หรือ CV ของ NPV เพื่อวัดความสามารถในการทำกำไรและความเสี่ยงของโครงการ
บทที่ 13 ROIL (Return on Investment Capital) ความไม่แน่นอนของผลตอบแทนที่จะได้รับจากการลงทุนในอนาคต = NOPAT / Capital
Capital = หนี้สิน + ส่วนของผู้ถือหุ้น (ไม่รวมหุ้นบุริมสิทธิ์) สมการ HAMADA = b = bu [1 + (1 - t)(D / E)]
bu = ค่าเบต้าของกิจการกรณีไม่มีหนี้สิน เรียกว่ Unlevered Bata
บทที่ 15 เงินทุนหมุนเวียน (Working Capital) - สินทรัพย์หมุนเวียนที่ใช้ในการดำเนินงาน
เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net Working Capital) - ผลต่างระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียน กับ หนี้สินหมุนเวียน
ระยะเวลาในการผลิตและขายสินค้า = สินค้าคงเหลือ / ยอดขายต่อวัน ระยะเวลาในการเก็บหนี้ = ลูกหนี้การค้า / ยอดขายต่อวัน
ระยะเวลาในการชำระหนี้ = เจ้าหนี้การค้า / ยอดซื้อต่อวัน หรือ ต้นทุนขายต่อวัน
วงจรของเงินสด = ระยะเวลาในการผลิตและขายสินค้า + ระยะเวลาในการเก็บหนี้ - ระยะเวลาในการชำระหนี้
บทที่ 16 Nominal Annual Cost = (Discount Percent / 100 - Discount precent) X 365 (Days Credit is Outstanding - Discount Period )
Effective Annual Cost = (1+ %ต่องวด เช่น 2/98)ยกกำลังงวด - 1.0
บทที่ 17 เงินทุนที่ต้องการเพิ่มขึ้น AFN = (A*/S0) dS - (L*/S0) dS - MS1 (RR)
A* = สินทรัพย์ที่ต้องการเพิ่มขึ้นเมื่อยอดขายเพิ่มขึ้น S0 = ยอดขายปีที่ผ่านมา
L* = หนิ้สินที่เพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ dS = การเปลี่ยนแปลงยอดขาย - Sales Grownth
M = อัตรากำไรต่อยอดขาย S1 = ยอดขายที่พยากรณ์ไว้ในปีต่อไป
RR = อัตรากำไรที่เหลือจากการจ่ายเงินปันผล
สินทรัพย์ถาวรที่ต้องการ = อัตราส่วนสินทรัพย์ถาวรที่มีอยู่ต่อยอดขาย X ยอดขายที่พยากรณ์ไว้
บทที่ 18 ตราสารอนุพันธ์
1. Forward Contracts & Future Contracts
- Forward ข้อตกลงที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งตกลงซื้อสินทรัพย์จำนวนหนึ่งจากคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งโดยตกลงราคาขายวันนี้
- ส่งมอบและชำระเงินในอนาคต - มีความเสี่ยงเพราะถ้าราคาสินทรัพย์เปลี่ยนแปลงไปอาจมีการผิดสัญญาได้
- Future ปรับราคาตามราคาตลาดทุกวัน - ไม่มีกรส่งมอบสินทรัพย์แต่เมื่อครบกำหนดสัญญาจะจ่ายหรือรับเงินส่วนที่ต่างกันเท่านั้น
- เป็นสัญญามาตรฐานสามารถนำไปซื้อขายกันในตลาดได้
2. Swap สัญญาที่คู่สัญญา 2 ฝ่ายตกลงแลกเปลี่ยนธุรกรรมกัน เช่น การแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย, การแลกเปลี่ยนสกุลเงิน
3. Structured Noted ภาระหนี้สินที่เกิดจากภาระหนี้สินอื่น
4. Inverse Floaters ตั๋วเงินที่มีอัตราผลตอบแทนเคลื่อนไหวตรงข้ามกับอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด
ความเสี่ยง 10 ประการ 1. Pure Risks 2. Speculative Risks 3. Demand Risks 4. Input Risks
5. Financials Risks 6. Property Risks 7. Personnal Risks 8. Environmental Risks 9. Liability Risks
บทที่ 21 การควบกิจการ 10. Insurable Risks
การประเมินมูลค่าของบริษัทเป้าหมายมีหลายวิธี แต่ที่ใช้กันมากมี 2 วิธี
1. วิธีซื้อลดกระแสเงินสด - งบกำไรขาดทุน 5 ปีต่อไป มีหักสำรองเงินเพื่อการขยายงาน และประเมินกระแสเงินสดภายหลังปีที่ 5
2. วิธี Market Multiple Analysis
ทฤษฎีโครงสร้างของเงินทุน ของ M&M
- การใช้หนี้สินได้ประโยชน์ด้านภาษี ทฤษฎี M&M ราคาหุ้นจะสูงขึ้นและสูงสุดเมื่อใช้หนี้สิน 100%
- การใช้หนี้สินจะมีต้นทุนล้มละลายทำให้ราคาหุ้นลดลง ในช่วงแรกต้นทุนล้มละลายจะต่ำหรือแทบไม่มี เมื่อ D/A ถึง D1 ประโยชน์ด้านภาษียังมาก
กว่าต้นทุนล้มละลายที่สูงขึ้น ทำให้ราคาหุ้นจึงยังสูงขึ้นในอัตราลดลง เมื่อ D/A ถึง D2 ต้นทุนล้มละลายสูงกว่าประโยชน์ด้านภาษีราคาหุ้นจะลดลง
D2 จึงเป็นโครงสร้างของเงินทุนที่เหมาะสม

1 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

อยากได้คำตอบของวิชาการจัดการการเงินของ MBA

แสดงความคิดเห็น

Popular Posts