การพยากรณ์ทางการเงินโดยใช้วิธีอัตราส่วนคงที่
1. ต้องพยากรณ์ยอดขายของปีถัดไปก่อน
2. เมื่อพยากรณ์ยอดขายแล้ว ก็ต้องทำการพยากรณ์งบกำไร-ขาดทุน
2.1 หา Correction factor ของยอดขายปีหน้าเทียบกับปีปัจจุบัน เช่น ยอดขายปีปัจจุบันเท่ากับ 100 บาท พยากรณ์ยอดขายของปีหน้าเท่ากับ 120 บาท จะได้ Correction factor เท่ากับ 120 / 100 = 1.2 เป็นต้น
2.2 นำ Correction factor ที่ได้มาไปคูณกับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในงบกำไรขาดทุน ซึ่งประกอบด้วย
2.2.1 ต้นทุนสินค้า (Cost of goods sold) 2.2.2 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (Selling and administrative expense) 2.2.3 ค่าเสื่อมราคา (Depreciation)
2.3 จากนั้นก็หา EBIT EBT Net income
2.4 นำ Dividend (โจทย์กำหนดมาว่าเป็นกี่ % ของ Net income) ไปหักออกจาก Net income ซึ่งจะทำให้ทราบถึง Retained Earning ซึ่ง Retained Earning นี้จะมีผลต่อเนื่องไปยังงบดุลในส่วนของ Common Equity
3. พยากรณ์งบดุล
3.1 นำ Correction factor เช่นเดียวกันกับในงบกำไร-ขาดทุน ไปคูณกับ Spontaneously generated fund ซึ่งประกอบด้วย
3.1.1 ลูกหนี้การค้า (Account Receivable) 3.1.2 สินค้าคงคลัง (Inventory) 3.1.3 สินทรัพย์ถาวรต่าง ๆ (Fixed asset)
3.1.4 เจ้าหนี้การค้า (Account payable) 3.1.5 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accruals)
ในส่วนของเงินกู้ระยะสั้นและระยะยาวนั้นไม่ต้องนำ Correction factor ไปคูณ เนื่องจาก ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ไม่ขึ้นอยู่กับยอดขาย
3.2 กำไรสะสม (Retained Earning) ของปีหน้าคำนวณได้จาก การนำกำไรสะสมที่ได้จากการพยากรณ์งบกำไร-ขาดทุนของปีหน้า มาบวกกับกำไรสะสมของปีปัจจุบัน
3.3 เปรียบเทียบยอดรวมของ Total Asset กับ Total Liability and equity ซึ่งจะต้องเท่ากัน ถ้าไม่เท่ากันต้องหา Additional Fund needed ซึ่งจะเท่ากับ
Additional fund needed (AFN) = Total Asset – Total liability and equity
3.4 ตรวจดูโครงสร้างของเงินทุน (Capital structure) ว่าเงินทุนนั้นมีสัดส่วนหนี้สินต่อทุนเป็นเท่าใด เช่น หนี้สิน 40% ทุน 60% เป็นต้น
3.5 ทำการจัดสรร AFN ที่ได้จากข้อ 3.3 ตามสัดส่วนของหนี้สินต่อทุน (ข้อ 3.4)
3.6 ในกรณีที่มีหนี้สินเพิ่มนั้น จะเป็นผลให้ดอกเบี้ยจ่ายในงบกำไร- ขาดทุนเพิ่มขึ้น โดยที่ต้องกลับไปคำนวณงบกำไร-ขาดทุนอีกครั้ง ซึ่งเป็นผลให้กำไรสุทธิและกำไรสะสมเปลี่ยนไป
3.7 ทำการเปรียบเทียบ Total asset กับ Total liability and equity อีกครั้ง ซึ่งถ้ายังไม่เท่ากันก็ต้องหา AFN ในข้อ 3.3 อีกครั้ง และทำตามข้อ 3.4, 3.5 และ 3.6 จนกว่า AFN เท่ากับศูนย์
3.8 สุดท้ายนำ AFN ที่เกิดขึ้นทั้งหมดมารวมกัน (Cumulative AFN) ก็จะได้ AFN หรือเงินทุนที่ต้องจัดหาเพิ่มในปีหน้า
THE AFN FORMULA : AFN = (A*/S0)S – (L*/S0)S – MS1(1-d)
หมายเหตุ สูตรนี้จะใช้ได้เมื่อ ใช้สินทรัพย์เต็มกำลังการผลิตเท่านั้น
AFN = เงินทุนที่ต้องการเพิ่ม (Additional fund needed) A* = สินทรัพย์ที่มีอยู่ทั้งหมด
S0 = ยอดขายของปีก่อน (ปีล่าสุด) S = ยอดขายที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น (ยอดขายพยากรณ์ – ยอดขายของปีล่าสุด)
L* = Spontaneous Liabilities (ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติถ้ามีการเพิ่มขึ้นของยอดขาย)
M = Profit Margin จะมีค่าเท่ากับ Net income to common equity / Sales ซึ่ง Net income to common equity นั้นหมายถึง กำไรสุทธิที่ได้หักเงินปันผลในส่วนของหุ้นบุริมสิทธ์ (Preferred stock) แล้ว
S1 = ยอดขายพยากรณ์ของปีหน้า d = Dividend payout ratio ซึ่งมีค่าเท่ากับ Dividend / Net income โดยที่ d จะมีค่าไม่เกิน 1 เสมอ
ซึ่งถ้าสังเกตจะเห็นได้ว่า ...AFN = สินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น – หนี้สินที่เป็น Spontaneous ที่เพิ่มขึ้น – ทุนที่เพิ่มขึ้น (เฉพาะในส่วนของกำไรสะสม)
แบบฝึกหัดบทที่ 17 : การวางแผนแลพยากรณ์ทางการเงิน
RR (Retention Ratio) = (1 – Payout)
= (1 – 0.3) = 0.7 = 70%
โจทย์ Carter Corporation’s sales are expected to increase from $5 million in 2002 to $6 million in 2003, or by 20 percent. Its assets totaled $3 million at the end of 2002. Carter is at full capacity, so its assets must grow in proportion to projected sales. At the end of 2002, current liabilities are $1 million, consisting of $250,000 of accounts payable, $500,000 of notes payable, and $250,000 of accrued liabilities. The after-tax profit margin is forecasted to be 5 percent, and the forecasted retention ratio is 30 percent. Use this information to answer Problems 17-1, 17-2, and 17-3.
17.1 Use the AFN formula to forecast Carter’s additional funds needed for the coming year.
ตอบAFN = ( A* / S0 ) S - ( L* / S0 ) S - M S1 ( RR )
= ($3,000,000 / $5,000,000)$1,000,000 – ($500,000 / $5,000,000)$1,000,000 – 0.5 x $6,000,000(0.30)
= (0.60)$1,000,000 – (0.10)$1,000,000 - $3,000,000(0.30) = $600,000 - $100,000 - $90,000
= $410,000
17.2 What would the additional funds needed be if the company’s year-end 2002 assets had been $4 million ? Assume that all other numbers are the same. Why is this AFN different from the one you found in Problem 17-1 ? Is the company’s “capital intensity” the same or different ?
ตอบAFN = ( A* / S0 ) S - ( L* / S0 ) S - M S1 ( RR )
= ($4,000,000 / $5,000,000)$1,000,000 – ($500,000 / $5,000,000)$1,000,000 – 0.5 x $6,000,000(0.30)
= (0.80)$1,000,000 – (0.10)$1,000,000 - $300,000(0.30) = $800,000 - $100,000 - $90,000
= $610,000
17-3 Return to the assumption that the company had $3 million in assets at the end of 2002, but now assume that the company pays no dividends. Under these assumption, what would be the additional funds needed for the coming year ? Why is this AFN different from the one you found in Problem 17-1 ?
ตอบAFN = ( A* / S0 ) S - ( L* / S0 ) S - M S1 ( RR )
= ($3,000,000 / $5,000,000)$1,000,000 – ($500,000 / $5,000,000)$1,000,000 – 0.5 x $6,000,000(1.0)
= (0.60)$1,000,000 – (0.10)$1,000,000 - $300,000(1.0) = $600,000 - $100,000 - $300,000
= $200,000
โจทย์ 17-7 AT the end of last year, Roberts Inc. reported the following income statement (in million of dollars) :
• Year-end sales are expected to be 10 percent higher than the $3 billion in sales generated last year.
• Year-end operating costs excluding depreciation are expected to equal 80 percent of year-end sales.
• Depreciation is expected to increase at the same rate as sales.
• Interest costs are expected to remain unchanged.
• The tax rate is expected to remain at 40 percent.
On the basic of this information, what will be the forecast for Robert’s year-end net income ?
ตอบ
Descriptions 2002 (million dollars) 2003 (million dollars) Remarks
Sales $3,000 $3,300 Increase 10%
Operating costs excluding depreciation 2,450 2,640 80% of year-end sales
(3,300 x 80% = 2,640)
EBITDA $550 $660
Depreciation 250 275 10% at the same rate as sales
EBIT $300 $385
Interest 125 125 Remain unchanged
EBT $175 $260
Taxes (40%) 70 104 Remain at 40%
Net income $105 $156
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environmental Analysis)
-
สภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อองค์การอย่างมากก็จริง
แต่ผู้บริหารต้องมีความเข้าใจและสามารถจัดการปัจจัยภายในองค์การด้วยการดาเนินงานจึงจะบรรลุเป้าหมาย
การวิเคร...
5 ปีที่ผ่านมา
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น