1. เงินปันผล เมื่อจ่ายเงินปันผลมากเท่าไรราคาของหุ้นสามัญก็จะสูงขึ้นเท่านั้น
2. ความเสี่ยง คือโอกาสที่จะสูญเสียบางอย่าง ในทางการเงินจะพิจารณาความเสี่ยงได้จาก ความปลอดภัยของเงินลงทุนกับอัตราผลตอบแทน ถ้าความปลอดภัยของเงินลงทุนน้อย แสดงว่ามีความเสี่ยงสูงเมื่อมีความเสี่ยงสูง อัตราผลตอบแทนต้องสูง ตามหลักการของ Trade off (high risk high return) ในทางตรงกันข้าม ถ้าความปลอดภัยมาก ความเสี่ยงก็จะน้อย ผลตอบแทนก็จะน้อย
2. ความเสี่ยง คือโอกาสที่จะสูญเสียบางอย่าง ในทางการเงินจะพิจารณาความเสี่ยงได้จาก ความปลอดภัยของเงินลงทุนกับอัตราผลตอบแทน ถ้าความปลอดภัยของเงินลงทุนน้อย แสดงว่ามีความเสี่ยงสูงเมื่อมีความเสี่ยงสูง อัตราผลตอบแทนต้องสูง ตามหลักการของ Trade off (high risk high return) ในทางตรงกันข้าม ถ้าความปลอดภัยมาก ความเสี่ยงก็จะน้อย ผลตอบแทนก็จะน้อย
Trade off มี 5 ปัจจัย
1. ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจที่ต่างกันก็จะมีความเสี่ยงที่ต่างกันผลตอบแทนก็ต่างกัน
2. ขนาดของธุรกิจ ธุรกิจประเภทเดียวกันแต่มีขนาดต่างกัน ธุรกิจขนาดใหญ่ก็จะมีความเสี่ยงมากกว่าธุรกิจขนาดเล็ก
3. เทคโนโลยีและอุปกรณ์ที่ใช้ในองค์กร ธุรกิจที่ลงทุนในทรัพย์สินถาวรมากเท่ไร ก็มีความเสี่ยงมากเท่านั้น เช่น ธุรกิจสายการบิน
4. การใช้ประโยชน์จากหนิ้สิน ถ้าใช้หนี้มาก ๆ จะมีความเสี่ยงสูง แต่จะทำให้มีเงินไปลงทุนในในสินทรัพมาก โอกาสที่จะทำก็มากตามไปด้วย
5. สภาพคล่อง องค์กรที่มีสภาพคล่องมาก ๆ ความเสี่ยงก็น้อย การมีสภาพคล่องมาก คือการมีสินทรัพย์หมุนเวียนมาก แต่ตัวที่ก่อให้เกิดกำไรคือสินทรัพย์ถาวร ดังนั้น การที่มีสภาพคล่องมากหมายความว่าเอาเงินไปลงทุนในสินทรัพย์สินทรัพย์หมุนเวียนมาก เหลือเงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวรน้อย ทำให้โอกาสที่จะทำกำไรน้อยตามไปด้วย
1. ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจที่ต่างกันก็จะมีความเสี่ยงที่ต่างกันผลตอบแทนก็ต่างกัน
2. ขนาดของธุรกิจ ธุรกิจประเภทเดียวกันแต่มีขนาดต่างกัน ธุรกิจขนาดใหญ่ก็จะมีความเสี่ยงมากกว่าธุรกิจขนาดเล็ก
3. เทคโนโลยีและอุปกรณ์ที่ใช้ในองค์กร ธุรกิจที่ลงทุนในทรัพย์สินถาวรมากเท่ไร ก็มีความเสี่ยงมากเท่านั้น เช่น ธุรกิจสายการบิน
4. การใช้ประโยชน์จากหนิ้สิน ถ้าใช้หนี้มาก ๆ จะมีความเสี่ยงสูง แต่จะทำให้มีเงินไปลงทุนในในสินทรัพมาก โอกาสที่จะทำก็มากตามไปด้วย
5. สภาพคล่อง องค์กรที่มีสภาพคล่องมาก ๆ ความเสี่ยงก็น้อย การมีสภาพคล่องมาก คือการมีสินทรัพย์หมุนเวียนมาก แต่ตัวที่ก่อให้เกิดกำไรคือสินทรัพย์ถาวร ดังนั้น การที่มีสภาพคล่องมากหมายความว่าเอาเงินไปลงทุนในสินทรัพย์สินทรัพย์หมุนเวียนมาก เหลือเงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวรน้อย ทำให้โอกาสที่จะทำกำไรน้อยตามไปด้วย
ความเสี่ยง (risk) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. ความเสี่ยงที่มีระบบ (systematic) เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับทุกองค์กรเหมือนกัน แต่ละองค์กรจะได้รับผลกระทบจากความเสี่ยงไม่เท่ากัน เช่น ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำกระทบกับทุกบริษัท
2. ความเสี่ยงไม่มีระบบ (unsystematic risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับองค์กรแต่ละองค์กร เช่น ประสิทธิภาพของผู้บริหาร การประทวงของพนักงาน การฟ้องร้องคดี ดังนั้นความเสี่ยงที่ไม่มีระบบเป็นความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้โดยการกระจายการลงทุน
2.1 ความเสี่ยงทางการเงิน (อยู่ด้านขวาของงบดุล) เกิดจากการที่เรามีหนี้สิน องค์กรมีหนี้สินมากจะเป็นองค์กรที่มีภาระผูกพันทางการเงิน และเป็นองค์กรที่มีความเสี่ยงทางการเงิน เช่น มีหนี้สินมาก การกู้มาก สินค้าล้าสมัยทำให้ต้องกู้เงินมาลงทุนใหม่ คู่แข่งมากทำให้ต้องเร่งการผลิตมากต้องกู้เงินมาลงทุนมากขึ้น การขาดประสิทธิภาพของผู้บริหาร
2.2 ความเสี่ยงทางด้านธุรกิจ (business risk) (อยู่ด้านซ้ายของงบดุล)
1. ความเสี่ยงที่มีระบบ (systematic) เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับทุกองค์กรเหมือนกัน แต่ละองค์กรจะได้รับผลกระทบจากความเสี่ยงไม่เท่ากัน เช่น ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำกระทบกับทุกบริษัท
2. ความเสี่ยงไม่มีระบบ (unsystematic risk) เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับองค์กรแต่ละองค์กร เช่น ประสิทธิภาพของผู้บริหาร การประทวงของพนักงาน การฟ้องร้องคดี ดังนั้นความเสี่ยงที่ไม่มีระบบเป็นความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้โดยการกระจายการลงทุน
2.1 ความเสี่ยงทางการเงิน (อยู่ด้านขวาของงบดุล) เกิดจากการที่เรามีหนี้สิน องค์กรมีหนี้สินมากจะเป็นองค์กรที่มีภาระผูกพันทางการเงิน และเป็นองค์กรที่มีความเสี่ยงทางการเงิน เช่น มีหนี้สินมาก การกู้มาก สินค้าล้าสมัยทำให้ต้องกู้เงินมาลงทุนใหม่ คู่แข่งมากทำให้ต้องเร่งการผลิตมากต้องกู้เงินมาลงทุนมากขึ้น การขาดประสิทธิภาพของผู้บริหาร
2.2 ความเสี่ยงทางด้านธุรกิจ (business risk) (อยู่ด้านซ้ายของงบดุล)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น