อัตราส่วนประเมินธุรกิจโดยรวม Market Value
5.1 ราคาตลาดกับกำไรสุทธิต่อหุ้น = ราคาตลาดต่อหุ้น = ……..เท่า สูงดี
P/E กำไรสุทธิต่อหุ้น (EPS)
อัตราส่วนที่เปรียบเทียบระหว่างราคาตลาดหุ้นกับกำไรต่อหุ้น ชี้ให้เห็นว่าหุ้นแต่ละตัวนั้นมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื่องจากการนำแต่เพียงราคาตลาดของหุ้นมาพิจารณาเปรียบเทียบว่าหุ้นตัวใดราคาสูงกว่ากันนั้นไม่เป็นการยุติธรรม ดังนั้นราคาของหุ้นควรจะสัมพันธ์กับ
Ratio นี้ จะมีค่าสูง เมื่อบริษัทมีแนวโน้มว่าจะเจริญเติบโตในอนาคต และจะมีค่าต่ำเมื่อบริษัทมีความเสี่ยงสูง
5.2 ราคาตลาดกับกระแสเงินสดต่อหุ้น = ราคาตลาดหุ้นตลาด
กระแสเงินสดต่อหุ้น
บริษัทมีกระแสเงินสด 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นในราคา... บาท
5.3 ราคาตลาดกับมูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น = ส่วนของผู้ถือหุ้น
จำนวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก
บริษัทมีมูลค่าตามบัญชี 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคา....บาท
ข้อจำกัดของการวิเคราะห์อัตราส่วน
1. บริษัทมีหลายแผนก ซึ่งประกอบธุรกิจต่างกัน การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงินกับอุตฯ จะทำได้ยาก
2. บริษัทที่มีอัตราส่วนทางการเงินดีกว่าค่าเฉลี่ย อาจไม่จำเป็นต้องเป็นบริษัทที่มีประสิทธิภาพดีเสมอ
3. ภาวะเงินเฟ้อ อาจทำให้การเปรียบเทียบแนวโน้มไม่ถูกต้อง
4. สินค้าตามฤดูกาล จะทำให้อัตราส่วนเบี่ยงเบนได้
5. การตกแต่งบัญชี
6. วิธีการบัญชีที่แตกต่างกัน
7. การสรุป วิเคราะห์ทางการเงิน อาจมองในด้านดี ไม่ดีก็ได้
8. กิจการที่มีอัตราส่วนหนึ่งดี แต่อีกอัตราไม่ดี สรุปไม่ได้ว่ามีจุดเด่น จุดด้อยอะไรบ้าง
5.1 ราคาตลาดกับกำไรสุทธิต่อหุ้น = ราคาตลาดต่อหุ้น = ……..เท่า สูงดี
P/E กำไรสุทธิต่อหุ้น (EPS)
อัตราส่วนที่เปรียบเทียบระหว่างราคาตลาดหุ้นกับกำไรต่อหุ้น ชี้ให้เห็นว่าหุ้นแต่ละตัวนั้นมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื่องจากการนำแต่เพียงราคาตลาดของหุ้นมาพิจารณาเปรียบเทียบว่าหุ้นตัวใดราคาสูงกว่ากันนั้นไม่เป็นการยุติธรรม ดังนั้นราคาของหุ้นควรจะสัมพันธ์กับ
Ratio นี้ จะมีค่าสูง เมื่อบริษัทมีแนวโน้มว่าจะเจริญเติบโตในอนาคต และจะมีค่าต่ำเมื่อบริษัทมีความเสี่ยงสูง
5.2 ราคาตลาดกับกระแสเงินสดต่อหุ้น = ราคาตลาดหุ้นตลาด
กระแสเงินสดต่อหุ้น
บริษัทมีกระแสเงินสด 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นในราคา... บาท
5.3 ราคาตลาดกับมูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น = ส่วนของผู้ถือหุ้น
จำนวนหุ้นสามัญที่อยู่ในมือบุคคลภายนอก
บริษัทมีมูลค่าตามบัญชี 1 บาท ผู้ลงทุนยินดีซื้อหุ้นราคา....บาท
ข้อจำกัดของการวิเคราะห์อัตราส่วน
1. บริษัทมีหลายแผนก ซึ่งประกอบธุรกิจต่างกัน การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงินกับอุตฯ จะทำได้ยาก
2. บริษัทที่มีอัตราส่วนทางการเงินดีกว่าค่าเฉลี่ย อาจไม่จำเป็นต้องเป็นบริษัทที่มีประสิทธิภาพดีเสมอ
3. ภาวะเงินเฟ้อ อาจทำให้การเปรียบเทียบแนวโน้มไม่ถูกต้อง
4. สินค้าตามฤดูกาล จะทำให้อัตราส่วนเบี่ยงเบนได้
5. การตกแต่งบัญชี
6. วิธีการบัญชีที่แตกต่างกัน
7. การสรุป วิเคราะห์ทางการเงิน อาจมองในด้านดี ไม่ดีก็ได้
8. กิจการที่มีอัตราส่วนหนึ่งดี แต่อีกอัตราไม่ดี สรุปไม่ได้ว่ามีจุดเด่น จุดด้อยอะไรบ้าง