Custom Search

วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

สรุปการจัดการการเงิน

บทที่16 การจัดหาเงินทุนสำหรับสินทรัพย์หมุนเวียน
1)ทางเลือกของนโยบายการจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ธุรกิจจะต้องมีสินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำไว้เพื่อดำเนินธุรกิจจำนวนหนึ่ง และเมื่อยอดขาย
เพิ่มขึ้น ก็จะมีสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็นการชั่วคราว หรือตามวัฏจักรของธุรกิจ ///// Maturity Matching Or "Self-Liquidating " Approach คือนโยบายจัดหา
หนี้สิน มีระยะเวลาเท่ากับระยะเวลาการลงทุนในสินทรัพย์ Aggressive Approach นโยบายนี้ค่อนข้างมีความเสี่ยงคือสินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำบางส่วนจัดหาเงิน
ทุนจากแหล่งเงินกู้ระยะสั้น ที่ไม่เกิดขึ้นเองอัตโนมัติ เนื่องจากหนี้สินระยะสั้นมีต้นทุนต่ำกว่าหนี้สินระยะยาว (ผู้บริหารที่ชอบเสี่ยงจะชอบนโยบายนี้ เพราะแลกกับ
โอกาสที่จะได้รับกำไรสูง ////// Conservative Approach ถือหลักความปลอดภัย ไม่ชอบเสี่ยงการลงทุนในส/ทหมุนเวยียนมีความปลอดภัยเพราะส/ทขั้นต่ำและส/ท
ชั่วคราวบางส่วนจะจัดหามาจากแหล่งเงินทุนระยะยาว 2)ข้อดีและข้อเสียของการจัดหาเงินทุนระยะสั้น การจัดหาเงินทุนระยะสั้นตามนโยบายทั้ง3 มีสัดส่วน
ที่ต่างกัน นโยบาย Aggressive ใช้หนี้สินระยะสั้นมากที่สุด นโยบาย Conservative ใช้หนี้สินระยะสั้นน้อยที่สุด แม้ว่าหนี้สินระยะสั้นจะเสี่ยงมากกว่าระยะยาว แต่มีข้อ
ได้เปรียบเสียเปรียบคือ ระยะเวลาที่ใช้ในการขอกู้เงิน ความยืดหยุ่น ต้นทุนของหนี้สิน ระยะยาวและสั้น ความเสี่ยงของหนี้สินระยะยาวและสั้น 3)แหล่งเงินทุนระยะ
สั้น ธุรกิจสามารถจัดหาเงินทุนระยะสั้นได้จากแหล่งต่างๆ แต่แหล่งเงินทุนระยะสั้น ที่สำคัญคือ คชจ.ค้างจ่าย เจ้าหนี้การค้าหรือเครดิตทางการค้า เงินกู้ธนาคาร
ตราสารพาณิชย์ 4)คชจ.ค้างจ่าย เมื่อกิจการขยายการดำเนินงาน คชจ.ค้างจ่ายเหล่านี้จะเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ และเป็นหนี้สินที่ไม่มีต้นทุนไม่มีการชำระดอกเบี้ย แต่ก็
ไม่สามารถควบคุมคชจ.ค้างจ่ายได้ เพราะการจ่ายคชจ.ค้างจ่ายจะต้องจ่ายตามเวลา แต่คชจ.ค้างจ่ายก็ยังมีประโยชน์ ถือเป็นแหล่งเงินทุนระยะสั้น แหล่งหนึ่งของกิจการ
5)เจ้าหนี้การค้า(เครดิตการค้า) เจ้าหน้การเกิดขึ้นจากการขายเชื่อ เป็นแหล่งเงินทุนระยะสั้นสำหรับกิจการ ทั่วไปที่ไม่ได้ทำธุรกิจด้านการเงิน คือจะมีเจ้าหนี้การค้า
ประมาณ 40% ของหนี้สินระยะสั้นทั้งสิ้น และถ้าธุรกิจขนาดเล็กที่จัดหาเงินทุนจากแหล่งอื่นได้ยาก ต้องอาศัยเครดิตทางการค้ามากขึ้น เครดิตทางการค้าเป็นแหล่ง
เงินทุนที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ จากการค้าขายกันตามปกติ ///ต้นทุนเครดิตทางการค้า การคำนวณหาต้นทุนของเงินทุนที่ได้จาก เครดิตทางการค้าภายใต้เงื่อนไข
เช่น 2/10,N/30 Irom = Discount Percent 365 = [ 2/(100-2) ] x [365/(30-10) ]=0.3723 x 100
100 - Discount Percent จำนวนวันที่ให้เครดิต - ระยะที่ให้ส่วนลด = 37.2%
Iper = Inom '= 37.2% = 2.04% /////// องค์ประกอบเครดิตทางการค้า แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ไม่มีต้นทุนกับมีต้นทุน
M 18.25
6. เงินกู้ระยะสั้นจากธนาคาร มีดังนี้ Maturity เป็นเงินกู้ระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี ธนาคารจะให้ผู้กู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินระยะเวลา 90 วัน , ตั๋วสัญญาใช้เงิน(P/N) เมื่อ
ธนาคารอนุมัติการให้กู้และให้ผู้กู้ลงชื่อในตั๋วสัญญาใช้เงิน ธ.จะนำเงินเข้าบัญชีเงินฝากกระแสรายวันให้ ,เงินฝากขั้นต่ำ
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง = เงินกู้ x อัตราดอกเบี้ยที่ตกลง
เงินชำระหนี้
7. ต้นทุนของเงินกู้จากธนาคาร ถ้ากู้น้อยดอกเบี้ยจะสูง ดอกเบี้ยตามปกติ คือ ดอกเบี้ยที่ไม่คิดทบต้น อัตราดอกเบี้ยต่อวัน = อัตราดอกเบuhยที่กำหนด / 365
8. การเลือก ธ. - ยอมรับความเสี่ยง ธ. , - การให้คำปรึกษาแนะนำ , - ความจริงใจของ ธ. ต่อลูกค้า, - ความเชี่ยวชาญ , - วงเงินกู้สูงสุด , - Merchant Banking
9. ตราสารพาณิชย์ คือ ตั๋วสัญญาใช้เงินระยะสั้นไม่มีหลักค้ำประกัน ผู้ที่ออกต้องเป็นบริษัทที่มีกิจการขนาดใหญ่ 10. การจัดหาเงินทนระยะสั้นโดยมีหลักประกัน
ส/ท ที่ใช้เป็นหลักประกัน เช่น ที่ดิน เครื่องจักร สินค้า ลูกหนี้ กรณีเงินกู้ระยะยาวใช้สินทรัพย์ถาวรเป็นหลักประกัน ,สั้น ใช้ลูกหนี้หรือสินค้าเป็นหลักประกัน

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Popular Posts