ตลาดการเงิน (Financial Markets) คือ สถานที่ซึ่งบุคคลและองค์การต่าง ๆ ที่ต้องการกู้เงินมาพบกับ
ผู้ที่มีเงินให้กู้
ประเภทของตลาดการเงิน
ลำดับ ตลาด ลักษณะตลาด
1 Physical asset market (Tangible, Real asset markets) ซื้อ – ขาย สินทรัพย์ที่มีตัวตน เช่น ที่ดิน อาคาร
Financial asset market ซื้อ – ขาย หุ้นสามัญ, หุ้นกู้, พันธบัตร, ตราสารอนุพันธ์
2 Spot market ซื้อ – ขาย สินทรัพย์ที่ ส่งมอบ กันทันที
Future market ซื้อ – ขาย สินทรัพย์วันนี้แต่ ส่งมอบ กันในอนาคต
3 Money market (ตลาดเงิน) ซื้อ – ขาย หลักทรัพย์ที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี เช่น ตั๋วเงินคลัง
Capital market (ตลาดทุน) ซื้อ – ขาย หลักทรัพย์ที่มีอายุเกิน 1 ปี เช่น หุ้นสามัญ, หุ้นกู้
พันธบัตรรัฐบาล
4 Primary market (ตลาดแรก) ซื้อ – ขาย หลักทรัพย์ที่ออกจำหน่ายครั้งแรก
Secondary market (ตลาดรอง) ซื้อ – ขาย หลักทรัพย์ระหว่างกันหลังจากที่ออกจำหน่ายครั้งแรกแล้ว
5 Initial Public Offering market (IPO) เป็นตลาดย่อยของตลาดแรก เสนอขายหุ้นให้กับมหาชน
Private market ซื้อ – ขาย หลักทรัพย์ โดยตรง แก่สถาบัน / บุคคลซึ่งได้กำหนดไว้แล้ว
Public market ซื้อ – ขาย หลักทรัพย์แก่มหาชน
6 Mortgage market ตลาดที่เกี่ยวกับการจำนองสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูง เช่น
ที่ดิน อาคาร
7 Consumer credit market ตลาดที่ให้เช่าซื้อเพื่อเกี่ยวกับการให้กู้เพื่อซื้อ, เพื่อท่องเที่ยว
8 World, national, regional and local market เป็นตลาดที่แบ่งขนาดตามขอบเขตการดำเนินของแต่ละบริษัท เช่น กู้ยืมเงินต่างประเทศ ก็เป็น World market
สถาบันการเงิน (Financial Institutions) คือ สถาบันที่ทำหน้าที่รวบรวมเงินออมจากผู้มีเงินออม แล้วนำไปจัดสรรให้แก่ผู้ที่ต้องการใช้เงิน รวมถึงการอำนวยความสะดวกในตลาดการเงิน เช่น การเป็นตัวกลางทำหน้าที่ ซื้อ – ขายหลักทรัพย์ เป็นต้น
ตลาดหลักทรัพย์ (The Stock Market) เป็นสถาบันที่เด่นที่สุดในตลาดรอง (Secondary market) แบ่งเป็น
1. ตลาดหลักทรัพย์แบบมีระบบ (Organized Security Exchanges) คือ ตลาดหลักทรัพย์ที่สถานที่ตั้งแน่นอน มีสมาชิกจำกัดจำนวน มีห้องค้า เพื่อทำการซื้อ – ขาย
2. ตลาดหลักทรัพย์แบบไม่มีระบบ (Over –The – Counter : OTC)
ต้นทุนของเงิน (The Cost of Money)
- ต้นทุนของหนี้สิน ดอกเบี้ย
- ต้นทุนของส่วนของเจ้าของ เงินปันผลและกำไรจากการขายหุ้น
***องค์ประกอบของอัตราดอกเบี้ยของตลาด***
โดย k อัตราที่ผลตอบแทนที่กำหนดไว้ หรือ อัตราดอกเบี้ยที่ต้องการ
k* อัตราดอกเบี้ยที่ปราศจากความเสี่ยงและไม่รวมอัตราเงินเฟ้อ
IP ส่วนชดเชยความเสี่ยงจากเงินเฟ้อ
kRF อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพย์รัฐบาล = k* + IP (RF = Risk-Free Rate)
DRP ส่วนชดเชยความเสี่ยงจากการไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามกำหนด
LP ส่วนชดเชยความเสี่ยงจากสภาพคล่อง
MRP สวนชดเชยความเสี่ยงจากระยะเวลาครบกำหนดไถ่ถอน
อธิบาย
IP มีผลต่ออัตราดอกเบี้ยมาก เพราะ ทำให้กำลังซื้อและอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงลดลง เป็นอัตรา
เงินเฟ้อเฉลี่ยที่คาดไว้ตลอดอายุหลักทรัพย์
DRP ถ้า DRP เพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ยจะเพิ่มขึ้นด้วย
LP สภาพคล่อง หมายถึง การเปลี่ยนเป็นเงินสดได้เร็วในราคาตลาดที่ยุติธรรม ดังนั้น ถ้าหลักทรัพย์ใด
ขายได้ช้า อัตราดอกเบี้ยก็จะเพิ่มขึ้นด้วย
MRP หลักทรัพย์ระยะยาวจะมีความเสี่ยงเนื่องจากระยะเวลา เพราะเมื่อดอกเบี้ยในท้องตลาดสูงขึ้น
พันธบัตรระยะยาวจะมีราคาลดลง เรียกว่า ความเสี่ยงเนื่องจากอัตราดอกเบี้ย ดังนั้น หลักทรัพย์
ระยะยาวจึงมี MRP สูงกว่าหลักทรัพย์ระยะสั้น
ความเสี่ยงของหลักทรัพย์แต่ละประเภท
ประเภทหลักทรัพย์ IP DRP LP MRP
หลักทรัพย์รัฐบาลระยะสั้น
หลักทรัพย์รัฐบาลระยะยาว
หลักทรัพย์เอกชนระยะสั้น
หลักทรัพย์เอกชนระยะยาว
ปัจจัยที่กำหนด Yield Curve
พันธบัตรรัฐบาล เนื่องจากพันธบัตรรัฐบาลไม่มีความเสี่ยง DRP และ LP จึงได้สมการ ดังนี้
พันธบัตรเอกชน เนื่องจากพันธบัตรของเอกชนมีความเสี่ยงครบทุกตัว จึงได้สมการ ดังนี้
ตัวอย่าง
พันธบัตรรัฐบาล อายุ 7 ปี ให้ kt* = 3% อัตราเงินเฟ้อในปีนี้ = 3 % ปีหน้า = 4 % ปีต่อ ๆ ไป = 3.5 %
MRPt = 0.0005 (t-1) โดย t = จำนวนปีครบกำหนดไถ่ถอน
ให้หาอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ
วิธีทำ
จากสมการ kt = kt* + IPt + MRPt
kt* = 0.03
IPt = 0.03 + 0.04 + 5(0.035) = 0.035
7
MRPt = 0.0005 (7-1) = 0.003
kt = 0.03 + 0.035 + 0.003 = 0.068 = 6.8% Ans
การลงทุนในต่างประเทศ
1. Country Risk คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการลงทุนหรือการดำเนินธุรกิจในแต่ละประเทศ ความเสี่ยงประเภทนี้ขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของแต่ละประเทศ
2. Exchange Rate Risk คือ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่ออัตราดอกเบี้ย
1. นโยบายของธนาคารกลาง
2. นโยบายการคลัง คือ นโยบายเกี่ยวกับรายรับ – รายจ่ายของรัฐบาล ว่าจะเกินดุล หรือ ขาดดุล
3. ระดับกิจกรรมทางธุรกิจ
4. ปัจจัยด้านต่างประเทศ เช่น ถ้าประเทศขาดดุลการค้า ก็จะต้องหาเงินมาชดเชย โดยการกู้ยืม เมื่อต้องกู้ยืมเงินเพิ่มอัตราดอกเบี้ยก็จะสูงขึ้น เป็นต้น
การซื้อของผู้บริโภค
-
พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค หมายถึง
พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคขึ้นสุดท้ายที่ซื้อสินค้าและบริการไปเพื่อกินเองใช้เอง
หรือเพื่อกินหรือใช้ภายในครัวเรือน
ผู้บ...
4 ปีที่ผ่านมา
1 ความคิดเห็น:
Your stуle is unique сomparеd to οther people I have read stuff from.
I appreciate you for posting when you've got the opportunity, Guess I'll juѕt booκmark this blog.
Feel free to ѕurf to my webpаge - Online Payday oan
Feel free to visit my blog ; payday loans online
แสดงความคิดเห็น