MBA

We constantly research and disseminate knowledge to prepare graduate students to be leaders at the community, national and international levels.

Facebook is a social utility that connects people with friends and others who work, study and live around them. People use Facebook to keep up with friends

Custom Search

วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

สรุปการจัดการการเงิน2

บทที่ 15 เรื่อง การจัดการสินทรัพย์หมุนเวียน 1. คำจำกัดความเกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน 1)เงินทุนหมุนเวียน หมายถึงส/ทหมุนเวียนที่ใช้ในการดำเนินงาน 2) เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ หมายถึง ผลต่างระหว่างส/ทหมุนเวียน กับหนี้สินหมุนเวียน สมการ เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ =สินทรัพย์หมุนเวียน-หนี้สินหมุนเวียน ) 3)Current ratio หมายถึง สินทรัพย์หมุนเวียนหารด้วยหนี้สินหมุนเวียน ใช้วัดสภาพคล่องของกิจการ 4) Quick ratio ใช้วัดสภาพคล่องของกิจการเช่นเดียวกับ Current ratio แต่หักสินค้าคงเหลือที่มีสภาพคล่องน้อยที่สุดออกจากสินทรัพย์หมุนเวียน 5)งบประมาณเงินสด คือประมาณการกระแสเงินสดรับและจ่าย ทำให้ทราบว่ากิจการมีกระแสเงินสดรับเพียงพอกับจ่ายหรือไม่ 6)นโยบายเงินทุนหมุนเวียน เป็นนโยบายเกี่ยวกับ (1)เกี่ยวกับการกำหนดว่าจะมีสินทรัพย์หมุนเวียนแต่ละประเภทเพียงไร(2)จะจัดหาเงินทุนจากแหล่งใดมาลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน...

สรุปการจัดการการเงิน

บทที่16 การจัดหาเงินทุนสำหรับสินทรัพย์หมุนเวียน 1)ทางเลือกของนโยบายการจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน ธุรกิจจะต้องมีสินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำไว้เพื่อดำเนินธุรกิจจำนวนหนึ่ง และเมื่อยอดขาย เพิ่มขึ้น ก็จะมีสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็นการชั่วคราว หรือตามวัฏจักรของธุรกิจ ///// Maturity Matching Or "Self-Liquidating " Approach คือนโยบายจัดหา หนี้สิน มีระยะเวลาเท่ากับระยะเวลาการลงทุนในสินทรัพย์ Aggressive Approach นโยบายนี้ค่อนข้างมีความเสี่ยงคือสินทรัพย์หมุนเวียนขั้นต่ำบางส่วนจัดหาเงิน ทุนจากแหล่งเงินกู้ระยะสั้น ที่ไม่เกิดขึ้นเองอัตโนมัติ เนื่องจากหนี้สินระยะสั้นมีต้นทุนต่ำกว่าหนี้สินระยะยาว (ผู้บริหารที่ชอบเสี่ยงจะชอบนโยบายนี้ เพราะแลกกับ โอกาสที่จะได้รับกำไรสูง ////// Conservative Approach ถือหลักความปลอดภัย ไม่ชอบเสี่ยงการลงทุนในส/ทหมุนเวยียนมีความปลอดภัยเพราะส/ทขั้นต่ำและส/ท...

สรุปเข้าห้องสอบ

บทที่ 18 ตราสารอนุพันธ์และการจัดการความเสี่ยง ตราสารอนุพันธ์ (Derivatives) หมายถึง หลักทรัพย์ที่ไม่มีมูลค่าในตัวเอง มูลค่าของหลักทรัพย์นึ้ขั้นอยู่กับราคาตลาดหรืออัตราดอกเบี้ยของสินทรัพย์อื่น เช่น สิทธิที่ จะซื้อจะขายหุ้นสามัญ (Option) มูลค่าของสิทธิดังกล่าวขึ้นอยู่กับราคาตลาดของหุ้นสามัญที่รองรับ---> บุคคลกลุ่มที่ 3 คือ นักเก็งกำไร : เข้ามาซื้อขายโดยคาด่าสินทรัพย์ จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยไม่มีความต้องการป้องกันความเสี่ยง เมื่อบุคคลกลุ่มนี้เข้ามามาก ทำให้ตลาดมีสภาพคล่องและมั่นคงมากขึ้น หากไม่มีการควบคุมที่ดีพอ ก็จะขาดทุนถึงขึ้นล้มละลายได้ Option คือสัญญาแสดงสิทธิของผู้ถือ Option จะซื้อหรือจะขายสินทรัพย์ใดๆที่ระบุไว้ตามจำนวน ภายในระยะเวลาที่กำหนด (strike หรือ exercise price) ผู้ซื้อต้องจ่าย premiumให้แก่ผู้ขายในวันทำสัญญา จะไม่เป็นการบังคับผู้ถือ...

กระแสเงินสดสุทธิ Net Cash Flow

กระแสเงินสดสุทธิ Net Cash Flow = กำไรสุทธิ - รายได้ที่ไม่เป็นเงินสด + ค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้จ่ายเป็นเงินสด (ค่าเสื่อมราคา & ค่าใช้จ่ายตัดจ่าย) Net Operating Working Capital = Operating Working Capital - (เจ้าหนี้การค้า + ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย) หรือ = จำนวนเงินทุนที่ต้องจัดหามาจากผู้ลงทุน (ซึ่งมีต้นทุนทางการเงิน) Operating Working Capital = เงินสด + ลูกหนี้การค้า + สินค้าคงเหลือ Total Operating Capital = Net Operating Working Capital + Net Fixed Assets กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (Operating Cash Flow) = กำไรสุทธิจากการดำเนินงานหลังภาษี (Nopat) + ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) กระแสเงินสดอิสระ (Free Cash Flow=FCF) = กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน (Operating Cash Flow) - Gross Investment in Operating Cap. Gross Investment in Operating Capital = Net Investment in Operating...

เรื่องของสิทธิจะซื้อจะขาย (Options)

Option เป็นสิทธิ (ไม่ใช่ข้อบังคับ) ในการซื้อหรือขายสินทรัพย์ที่ระบุไว้ ตามจำนวน ราคา และภายในเวลาที่กำหนด ทั้งนี้ผู้ซื้อ option จะต้องจ่าย option premium ให้แก่ผู้ขาย option• สิทธิในการซื้อ เรียกว่า call option• สิทธิในการขาย เรียกว่า put option• ผู้ถือสิทธิมีสถานภาพเป็นบวก (เลือกใช้สิทธิหรือไม่ก็ได้)• ผู้ขายสิทธิมีสถานภาพเป็นลบ (ต้องปฎิบัติตามที่ผู้ถือสิทธิต้องการ) ใช้สิทธิเมื่อได้รับประโยชน์จาก option ผู้ถือสิทธิ ไม่ใช่สิทธิถ้าสถานการณ์ไม่อำนวย (สละสิทธิ) โดยยอมให้ option หมดอายุและขาดทุนเท่ากับ option premium ที่จ่าย ให้ผู้ขาย Option มีทั้ง option ที่มีหุ้นรองรับ...

FISH&CHIPS INC., PART 2

20-14 Preferred Stock, Warrants, and Convertibles Marthas Milon, financial manager of Fish &Chips Inc., is facing a dilemma. The firm was founded 5 years ago to develop a new fast-food concept, and although Fish &Chips has done well, the firm is founder and chairman believes that and industry shake-out is imminent. To survive, the firm must capture market share now, and this requires a large infusion of new capital.Because the stock price may rise rapidly, Millon does not want to issue new common stock. On the other hand, interest rate are currently very high by historical standards, and, with the firm’s B rating, the interest payments on a new debt issue would be too much to handle if sales took a downturn. Thus, Millon has narrowed her choice to bonds with warrants or convertible...

การแบ่งผลประโยชน์ให้ผู้ถือหุ้น : เงินปันผลและการซื้อหุ้นคืนมา

นโยบายเงินปันผลที่เหมาะสม ...ก็คือ การจัดให้มีความสมดุลระหว่างการจ่ายเงินปันผลในปัจจุบัน และ อัตราการเจริญเติบโตของบริษัทในอนาคต เพื่อที่จะทำให้ราคาของหุ้นสามัญสูงสุดทฤษฎีนโยบายเงินปันผล 1.The dividend irrelevance theory …บอกว่า นโยบายเงินปันผลไม่มีความสำคัญ มูลค่าของกิจการขึ้นอยู่กับความสามารถในการทำกำไร และความเสี่ยงของธุรกิจของบริษัทเอง หรือกล่าวอีกนัย หนึ่งว่า มูลค่าของกิจการขึ้นอยู่กับรายได้จากสินทรัพย์ของบริษัทเท่านั้น2. The bird-in-hand theory …Gordon บอกว่า นักลงทุนยินดีที่จะได้รับเงินปันผลในปัจจุบันมากกว่า กำไรจากการที่ราคาหุ้นสามัญสูงขึ้นในอนาคต ทั้งนี้เนื่องจากอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลจะมีความเสี่ยงน้อยกว่าอัตราผลตอบแทนจากกำไรที่จะได้รับ จากการที่ตาดว่าราคาหุ้นจะสูงขึ้นในอนาคต แต่ MM ก็โต้แย้งว่าแนวคิดของ Gordon เป็นภาพลวงตา เพราะหากจ่ายเงินปันผลมาก นักลงทุนก็จะเอาเงินปันผลนี้ไปลงทุนในหุ้นสามัญตัวอื่นอยู่ดี3.The...

การจัดการสินทรัพย์หมุนเวียน

ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน (Working Capital) 1. เงินทุนหมุนเวียน (Working capital หรือ Gross working capital) หมายถึง สินทรัพย์หมุนเวียนทั้งหลายที่ใช้ในการดำเนินงาน2. เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net working capital) คือ สินทรัพย์หมุนเวียน ลบ หนี้สินระยะสั้น3. นโยบายเงินทุนหมุนเวียน หมายถึง นโยบายเกี่ยวกับ 3.1 ระดับของสินทรัพย์หมุนเวียนแต่ละประเภท3.2 จะหาเงินจากที่ใดมาลงทุนในเงินทุนหมุนเวียน4. การจัดการเงินทุนหมุนเวียน เป็น การกำหนดนโยบายเงินทุนหมุนเวียนและการนำนโยบายนั้นมาปฏิบัตินโยบายเงินทุนหมุนเวียน1. แบบผ่อนคลาย (Relaxed) …บริษัทจะดำรงหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด และสินค้าคงคลังไว้เป็นจำนวนค่อนข้างมาก2. แบบจำกัด (Restricted) ...บริษัทจะดำรงเงินสด หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด สินค้าคงคลังและลูกหนี้การค้า ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้3. แบบปานกลาง (Moderate) …ไม่มาก และ ไม่น้อยจนเกินไปเงินทุนหมุนเวียน...

การจัดหาเงินทุนจากหลักทรัพย์ลูกผสม: หุ้นบุริมสิทธิ

หุ้นบุริมสิทธิ์Basic EPS : กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น หารด้วย จำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายและอยู่ในมือผู้ถือหุ้น(โดยวิธีถัวเฉลี่ย)Primary EPS : กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ หารด้วย จำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายและอยู่ในมือผู้ถือหุ้น(โดยคิดเฉพาะจำนวนที่คาดว่าจะมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่ หรือใช้สิทธิในการแปรสภาพ หลักทรัพย์มาเป็นหุ้นสามัญ)Fully Diluted EPS : กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ หารด้วย จำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายและอยู่ในมือผู้ถือหุ้น (โดยคาดว่าได้มีการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่ หรือใช้สิทธิในการแปรสภาพหลักทรัพย์มา เป็นหุ้นสามัญทั้งหมด)การเช่า (Leases) คือ ผู้ให้เช่าสินทรัพย์ (Lessor) ยินยอมให้ผู้เช่าสินทรัพย์ (Lessee) มีสิทธิใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ตามที่ทำสัญญาไว้ ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยได้รับค่าเช่าเป็นการตอบแทนบทที่ 21 การควบกิจการ1.เหตุผลในการควบกิจการ1....

บทที่ 17 การวางแผนและพยากรณ์ทางการเงิน

การพยากรณ์ทางการเงินโดยใช้วิธีอัตราส่วนคงที่ 1. ต้องพยากรณ์ยอดขายของปีถัดไปก่อน2. เมื่อพยากรณ์ยอดขายแล้ว ก็ต้องทำการพยากรณ์งบกำไร-ขาดทุน2.1 หา Correction factor ของยอดขายปีหน้าเทียบกับปีปัจจุบัน เช่น ยอดขายปีปัจจุบันเท่ากับ 100 บาท พยากรณ์ยอดขายของปีหน้าเท่ากับ 120 บาท จะได้ Correction factor เท่ากับ 120 / 100 = 1.2 เป็นต้น2.2 นำ Correction factor ที่ได้มาไปคูณกับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในงบกำไรขาดทุน ซึ่งประกอบด้วย2.2.1 ต้นทุนสินค้า (Cost of goods sold) 2.2.2 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (Selling and administrative expense) 2.2.3 ค่าเสื่อมราคา (Depreciation)2.3 จากนั้นก็หา EBIT  EBT  Net income 2.4 นำ Dividend (โจทย์กำหนดมาว่าเป็นกี่ % ของ Net income) ไปหักออกจาก Net income ซึ่งจะทำให้ทราบถึง Retained Earning ซึ่ง Retained Earning นี้จะมีผลต่อเนื่องไปยังงบดุลในส่วนของ Common Equity3. พยากรณ์งบดุล3.1...

วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

บทที่ 13 โครงสร้างเงินทุน และการใช้ Leverage

นโยบายเกี่ยวกับโครงสร้างเงินทุนนั้น เป็นการเลือก (Trade-off) ระหว่าง ความเสี่ยงและผลตอบแทน คือ1. การก่อหนี้เพิ่มขึ้น  ความเสี่ยงของผู้ถือหุ้นสูงขึ้น 2. อัตราส่วนหนี้สินสูง  ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับสูงตาม 3. High Risk / High Returnโครงสร้างชองเงินทุนมีเป้าหมาย คือ 1. ต้องการทำให้หุ้นสามัญราคาสูงสุด 2. ต้นทุนของเงินทุน(ต้นทุนต่ำ กำไรจะสูง) และควบคุม WACCOperating Leverage คือ การมองที่ต้นทุนคงที่ เช่น การมี Operating Leverage สูง หมายถึง การที่ยอดขายเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กน้อยจะทำให้ผลกำไรจากการดำเนินงานเปลี่ยนแปลงอย่างมาก (Operating Leverage สูง ROE สูง  เสี่ยงสูง)ความเสี่ยง (Risk) คือ สิ่งที่เกิดขึ้นโดยที่เราไม่ได้คาดหมายยอดขาย = ต้นทุนรวม EBIT = P.Q – V.Q - FP = ราคาขายต่อหน่วย O = Q ( P – V ) - F Q = หน่วยขาย ณ จุดคุ้มทุน F = Q(P-V)F = ต้นทุนรวมคงที่ F = QV = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย...

แบบฝึกหัด

บริษัท L จำกัด กำลังพิจารณาโครงการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งออกสู่ตลาด โดยที่บริษัทต้องลงทุนซื้อเครื่องจักรในราคา 680,000 บาท ค่าขนส่งเครื่องจักร 10,000 บาท ค่าติดตั้งเครื่องจักร10,000 บาท เครื่องจักรมีอายุการใช้งาน 5 ปี มีมูลค่าซาก 100,000 บาท ในการผลิตสินค้าจะมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (ไม่รวมค่าเสื่อมราคา) ปีละ 300,000 บาท บริษัทต้องลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียนสุทธิเพิ่มขึ้นอีกในตอนเริ่มต้นโครงการเป็นเงิน 90,000 บาท และจะได้รับเงินจำนวนนี้กลับคืนมาเมื่อสิ้นสุดโครงการในปลายปีที่ 5 บริษัทคาดว่าสามารถผลิตสินค้าออกขายได้ปีละ 640,000 บาท ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรคิดตามวิธีเส้นตรง และบริษัทต้องเสียภาษีเงินได้ในอัตรา 30 % บริษัทควรจะดำเนินการตามโครงการนี้หรือไม่ ให้พิจารณาโดยใช้ วิธี (1) Payback Period : (ระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 3 ปี)(2) Discounted Payback Period (ระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน...

หุ้นมูลค่าหุ้นสามัญ

ผลตอบแทนจากการลงทุนด้วยหุ้นสามัญ1. เงินปันผล (Dividend yield)2. กำไร(ขาดทุน) จากการซื้อขายหุ้นสามัญ (Capital gain (loss) yield)สิทธิของผู้ถือหุ้นสามัญ1. การควบคุมบริษัท –มีสิทธิเลือกคณะกรรมการบริษัท2. สิทธิในการซื้อขายหุ้นสามัญได้ก่อน (The preemptive right)ประเภทของการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์1. การซื้อขายหุ้นสามัญเดิม2. การซื้อขายหุ้นเพิ่มทุน3. การเสนอขายหุ้นสามัญให้ประชาชนเป็นครั้งแรก จะเป็นการซื้อขายในตลาด IPO (Initial Public Offering market)คำจำกัดความและแบบจำลองของการประเมินมูลค่าหุ้นสามัญks = อัตราผลตอบแทนที่ คาดว่า จะได้รับจากหุ้นสามัญ (Expected rate of return)ks = อัตราผลตอบแทนที่ ต้องการ จากหุ้นสามัญ (Required rate of return)ks = อัตราผลตอบอทนที่ ได้รับจริง จากหุ้นสามัญ (Actual or realized rate of return)Dt = เงินปันผลที่คาดว่าจะได้รับ (Expected dividend) ในปีที่ tP0 = ราคาตลาดของหุ้นสามัญ...

บทที่ 8 หุ้น และมูลค่าหุ้น

ผลตอบแทนจากการลงทุนด้วยหุ้นสามัญ1. เงินปันผล (Dividend yield) 2. กำไร(ขาดทุน) จากการซื้อขายหุ้นสามัญ (Capital gain (loss) yield)สิทธิของผู้ถือหุ้นสามัญ1. การควบคุมบริษัท –มีสิทธิเลือกคณะกรรมการบริษัท 2. สิทธิในการซื้อขายหุ้นสามัญได้ก่อน (The preemptive right)ประเภทของการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์1. การซื้อขายหุ้นสามัญเดิม 2. การซื้อขายหุ้นเพิ่มทุน 3. การเสนอขายหุ้นสามัญให้ประชาชนเป็นครั้งแรก จะเป็นการซื้อขายในตลาด IPO (Initial Public Offering market)คำจำกัดความและแบบจำลองของการประเมินมูลค่าหุ้นสามัญks = อัตราผลตอบแทนที่ คาดว่า จะได้รับจากหุ้นสามัญ (Expected rate of return)ks = อัตราผลตอบแทนที่ ต้องการ จากหุ้นสามัญ (Required rate of return)ks = อัตราผลตอบอทนที่ ได้รับจริง จากหุ้นสามัญ (Actual or realized rate of return)Dt = เงินปันผลที่คาดว่าจะได้รับ (Expected dividend) ในปีที่ tP0 = ราคาตลาดของหุ้นสามัญ...

บทที่ 7 พันธบัตร และมูลค่าพันธบัตร

พันธบัตร (Bonds) .เป็นสัญญาระยะยาวซึ่งผู้กู้ ตกลงที่จะชำระดอกเบี้ยและเงินต้น ตามเวลาที่กำหนดให้แก่ผู้ถือพันธบัตรนั้น ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ1.พันธบัตรรัฐบาล (Treasury bonds or Government bonds) ออกโดยรัฐบาลกลาง เป็นพันธบัตรชั้นดี มีรัฐบาลเป็นประกัน 2.พันธบัตรของรัฐ (Municipal bonds) ออกโดยรัฐบาลท้องถิ่น พันธบัตรประเภทนี้จะไม่ต้องเสียภาษีให้รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น2.พันธบัตรของบริษัทเอกชน(Corporate bonds) มีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถจ่ายดอกเบี้ยและคืนเงินต้นได้ ที่เรียกว่า Default risk (บางครั้งเรียกว่า Credit risk) 4.พันธบัตรต่างประเทศ (Foreign bonds) นอกจากจะมี Default risk และยังมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนด้วยPar Value คือ มูลค่าที่ตราไว้ (Face Value) .เป็นราคาที่กำหนดไว้ต่อพันธบัตรหนึ่งฉบับCoupon Interest Rate คือ อัตราดอกเบี้ยที่กำหนดไว้Floating rate bonds คือ อัตราดอกเบี้ยชนิดลอยตัว...อัตราดอกเบี้ยจะมีการเปลี่ยนแปลงและปรับตามระยะเวลา...

ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน

สรุปแนวความคิดของบทนี้1.สินทรัพย์ทางการเงิน(Financial assets) ผู้ลงทุนคาดว่าจะได้รับผลตอบแทนในรูปของกระแสเงินสดในความไม่แน่นอนของกระแสเงินสดนั้น2.ความเสี่ยงของสินทรัพย์ มี 2 ประเภท2.1 ความเสี่ยงของหลักทรัพย์ตัวเดียว(Stand-alone risk) 2.2 ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์(Portfolio risk)3.ความเสี่ยงของกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน แบ่งเป็น 2 ส่วน3.1ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้3.2ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้4.สินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจะสูงด้วยผลตอบแทนจากการลงทุนผลตอบแทน = เงินที่ได้รับจากการลงทุน – เงินลงทุนอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน = เงินที่ได้รับจากการลงทุน – เงินลงทุน x 100 เงินลงทุนความเสี่ยงจากการลงทุน- ความเสี่ยงเกี่ยวกับความน่าจะเป็นที่จะได้รับผลตอบแทนต่ำหรือขาดทุน-...

บทที่ 5 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน

ความเสี่ยง(Risk) คือ เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ (Unfavorable event) เกิดขึ้นสินทรัพย์ทางการเงิน (Financial assets) ทุกประเภท จะให้ผลตอบแทนในรูปของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตความเสี่ยงของสินทรัพย์ทางการเงิน พิจารณาได้ 2 แบบ 1.Stand-alone Risk พิจารณาความเสี่ยง เมื่อถือหลักทรัพย์เพียงตัวเดียว หรือพิจารณาหลักทรัพย์ตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้น 2.Portfolio context พิจารณาความเสี่ยง เมื่อถือหลักทรัพย์หลายๆ ตัว (Portfolio = กลุ่มสินทรัพย์ลงทุน) 2.1 ความเสี่ยงที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ (Diversifiable risk) 2.2 ความเสี่ยงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ (Non-Diversifiable risk)ความเสี่ยงที่มีความสำคัญ(Relevant risk) ต่อนักลงทุน คือ ความเสี่ยงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ คือ ความเสี่ยงที่มีความสำคัญ หรือความเสี่ยงทางการตลาด(Relevant...

Pages 371234 »

Popular Posts