MBA

We constantly research and disseminate knowledge to prepare graduate students to be leaders at the community, national and international levels.

Facebook is a social utility that connects people with friends and others who work, study and live around them. People use Facebook to keep up with friends

Custom Search

วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555

แนวทางการรักษาเสถียรภาพของ BOP

แนวทางการรักษาเสถียรภาพของ BOP หลักการ (หมายความว่า ท่าขาดดุล จะให้ทำอย่างไร) 1. Import Restriction Policy นโยบายจำกัดการนำเข้า โดย **** Tariff Tax ใช้กำแพงภาษี ขึ้นภาษีนำเข้าให้สูง (Import Tax) สินค้าบวกภาษี ซึ่งเป็นเครื่องมือ ลดการขาดดุลทางการค้า ผลที่เกิดขึ้น ราคาสินค้าจะแพงขึ้น Demandลดลง กำแพงภาษีทำให้รัฐได้เงินไม่มาก เพราะ ผู้นำเข้าจะไม่นำเข้าตั้งแต่ต้น กำแพงภาษีไม่ได้เป็นเครื่องมือในการหารายได้ แต่เป็นเครื่องมือใน การรักษาเสถียรภาพขาดดุลการค้า ****Quota Restriction : การจำกัดปริมาณ เป็นการจำกัดปริมาณ หรือจำนวนการสนำเข้า โดยนำเข้าได้ตามโควตาที่กำหนด ถ้าเกิน กว่านั้นเข้าไม่ได้ 1+2=****Tariff Quota : จำกัดการนำเข้า และจำกัดโควตา สามารถนำเข้าได้ แต่ถ้าเกินโควตาที่กำหนดจะต้องเสียภาษีสูง ประเทศที่พัฒนาแล้วชอบใช้ เช่น อเมริกา ญี่ปุ่น หรือที่เรียกว่า GSP (Generalized System of Preference) ซึ่งเป็นสิทธิพิเศษทาง ภาษี...

การเงินระหว่างประเทศ (International Finance)

การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) มีหัวข้อหลัก 3 เรื่อง 1. ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (Balance of Payment) หรือ BOP 2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ (Exchange Rate System) 3. แนวทางการรักษาเสถียรภาพของ BOP หัวข้อที่ 1 BOP: ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ BOP คือ ดุลยบัญชี ที่ชี้ให้เห็นถึงฐานะทางการเงินของประเทศนั้น ๆ ในการถือเงินสกุลหลัก สามารถแยกย่อยได้ดังนี้ 1. Current Account = ดุลบัญชี เงินสะพัด (ดุล บ/ช ที่ใหญ่ที่สุด) 1.1 Trade Account ดุลการค้า 1.2 Service Account ดุลบริการ 2. Capital Account ดุลบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ หรือ ดุลบัญชีเงินทุน 2.1 FDI (Foreign Direct Investment Account) - ดุลบัญชี เงินลงทุนโดยตรง 2.2 PI (Portfolio Investment Account) - ดุลบัญชีเงินลงทุนโดยอ้อม 3. TA (Transfer Account) ดุลเงินโอน - ดุลบริจาค ดุลช่วยเหลือระหว่างประเทศ รายละเอียด...

การใช้นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพื่อเป้าหมายในการส่งเสริมการเจริญเติบโต

การใช้นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพื่อเป้าหมายในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และ รักษาเสถียรภาพ ทาง ศก. (Eco.Growth + Stability) การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของทุกประเทศมักจะเจริญเติบโต แบบไม่มีเสถียรภาพ จะ ขึ้น ๆ ลง ๆ บางช่วง ศก. มีความเจริญเติบโตสูง บางช่วงต่ำ ถ้าเป็นอย่างนี้เราเรียกว่า ปัญหาวัฏจักร เศรษฐกิจ (Business Cycle) และมักจะก่อให้เกิดปัญหา 2 ด้าน คือ 1. ช่วงเศรษฐกิจขาลง (ศก. ตกต่ำ) จะมีปัญหาว่างงานเกิดขึ้น เพราะ Demand ของแรงงาน ลดลง แต่ Supply ของแรงงานไม่ลด 2. ช่วงเศรษฐกิจขาขึ้น จะมีปัญหาเงินเฟ้อ (Price Inflation) เป็นภาวะที่ราคาสินค้าบริการ พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยวัดจากดัชนีราคา (CPI) (Consumer Price Index) คำถาม อ.เงินเฟ้อดี หรือ ไม่ดี ในทางวิชาการ - เงินเฟ้อจะดี หรือ ไม่ดี ต้องดูว่าใครเป็นผู้ตอบ เช่น พ่อค้า บอกว่าดี/ลูกจ้าง ข้าราชการ ไม่ดี - ผลประโยชน์เกิดกับคน ไม่เท่ากัน คือ...

นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)

นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) คือ การที่รัฐบาลใช้เครื่องทางการคลัง ในการกระตุ้นเศรษฐกิจ มีด้วยกัน 3 ด้าน ดังนี้ 1. การใช้มาตรการเพิ่ม – ลด ภาษี 2. การเพิ่ม – ลด การก่อหนี้สาธารณะ 3. รายจ่ายสาธารณะ (รัฐบาลสามารถเพิ่ม – ลด รายจ่ายประจำปี) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจตามที่ต้องการ - เพื่อให้ ศก. เจริญเติบโต (Eco.Growth) - เพื่อให้ ศก. มีเสถียรภาพ (Eco.Stabitity) - เพื่อให้ ศก. มีความเสมอภาค (Eco.Equity) ผู้ดูแลกระทรวงการคลัง คือ รัฐบาลโดยคณะรัฐมนตรี ผ่านสภา ตราเป็น พรบ. รายจ่ายประจำปี กระการคลัง และสำนักงบประมาณ ทำหน้าที่ในการนำนโยบายไปใช้ปฏิบัติ คำถาม อ.ทำไมงบประมาณจะต้องผ่าน พรบ.? เพราะในหลักประชาธิปไตย ผู้เสียภาษีทุก คนจะต้องมีตัวแทน ในรัฐสภา Note ในปัจจุบันนโยบายการเงินนโยบายการคลัง ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปยังเป้าหมายทาง ศก. เป็นพื้นฐาน แต่ปัจจุบันยังมี เป้าหมายทางสังคมด้วย คือ ทำให้สังคมอยู่ดี...

นโยบายการเงิน (Monetary Policy) ความหมาย คือ การที่รัฐบาลใช้เครื่องมือทางการเงิน กระตุ้นเศรษฐกิจ มีด้วยกัน 3 ด้าน ดังนี้ 1. การลด – เพิ่มปริมาณเงินในระบบ 2. การปรับเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (หรือเรียกว่า ด/บ นโยบาย หรือ ด/บ มาตรฐาน) 3. การปรับเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราระหว่างประเทศ การที่รัฐบาลใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อบรรลุเป้าหมายทาง ศก. ที่เราต้องการดังนี้ 1.เพื่อให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต (Economic Growth) 2. เพื่อให้เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ (Eco Stability) 3. เพื่อให้เศรษฐกิจมีความเสมอภาค (Eco Eavity) หรือ การกระจายรายได้อย่างยุติธรรม - หน่วยงานที่ทำหน้าที่ทางการเงิน คือ Bank ชาติ หรือ ธนาคารกลาง หรือ ธ...

Pages 371234 »

Popular Posts